รวมอักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ

บทความนี้จะมาไขข้อสงสัยเมื่อคุณสั่งของผ่านทางเรือกัน กับอักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือนั่นเอง ซึ่งอักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือจะมีอักษรใดที่น่าสนใจบ้างนั้น ตามมาดูพร้อมๆ กันที่บทความนี้เลย

รวมอักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ

  • อักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ : DWT (Dead Weight Tonnage) หมายถึง น้ำหนักที่เรือลำหนึ่งสามารถใช้ในการบรรทุกทุกสิ่งไว้บนเรือได้ เช่น น้ำหนักสินค้า น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำจืด เป็นต้น โดยเป็นน้ำหนักที่เรือจะบรรทุกได้อย่างปลอดภัย มีหน่วยวัดเป็นเมตริกตัน
  • อักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ : TEUs (Twenty-foot) คือ หน่วยนับสินค้าที่บรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ซึ่งมีขนาความยาว 20 ฟุต โดยตู้คอนเทนเนอร์ 20 ฟุต เท่ากับ 1 TEU และตู้คอนเทอนเนอร์ 40 ฟุต เท่ากับ 2 TEU
  • อักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ : FEUs ( Forty-foot) คือ หน่วยนับสินค้าที่บรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ความยาว 40 ฟุต 
  • อักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ : IMO2020 ( International Maritime Organization : IMO โดย IMO2020) เป็นมาตรการที่กำหนดโดยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ บังคับให้เรือทุกลำในโลกเปลี่ยนเชื้อเพลิงที่ใช้อยู่ ไม่ให้มีการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์เกิน 0.5% จากปัจจุบันอยู่ที่ 3.5% ทำให้เรือต่างๆ จะต้องเปลี่ยนจากการใช้น้ำมันเตาที่มีกำมะถันสูงมาเป็นน้ำมันเตาที่มีกำมะถันต่ำหรือไม่เกิน 0.5% ทั้งนี้ IMO2020 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2020 เป็นต้นมา
  • อักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ : LCL ( Less than Container Load) หรือของไม่เต็มตู้สินค้า หมายถึงเป็นการแบ่งพื้นที่รวมกันในหลายๆ เจ้าภายในตู้สินค้าใบเดียว ข้อดี&ข้อเสียของการขนส่งทางรถแบบไม่เต็มตู้ (LCL)
  • อักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ : FCL (Full Container Load) หรือของเต็มตู้สินค้า หมายถึง การเหมาตู้เรือสำหรับเจ้าของเพียงรายเดียว 

และอักษรย่อที่คุณต้องรู้เมื่อคุณสั่งซื้อสินค้าจากจีนโดยผ่านทางเรือ อักษรสุดท้าย คือ CFS (Container Freight Station) คือการบรรจุสินค้าหรือการนำสินค้าออกจากตู้คอนเทนเนอร์ในบริเวณท่าเรือ กรณีนำเข้าสินค้า CFS คือผู้นำเข้า จัดหารถ และนำสินค้าออกจากตู้คอนเทนเนอร์ที่ท่าเรือ ส่วนกรณีส่งออก CFS คือผู้ส่งออก จะทำหน้าที่จัดหารถเพื่อบรรทุกสินค้าไปบรรจุสินค้าใส่ตู้คอนเทนเนอร์ที่ท่าเรือนั่นเอง

Aubree Mcdonalid

Back to top